Super Model 555+

Super Model 555+

ส่งงานกลุ่มที่ 2 เรื่ององค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์

วันพุธที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2556

ส่งงานอาจารย์ ปิยนันท์ คุณากรสกุล บทที่ 3

1. ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิคส์ แบ่งได้กี่วิธี อะไรบ้าง
                แบ่งได้ 3วิธี ดังนี้

1. ขั้นเตรียมข้อมูล เป็นการเตรียมข้อมูลเพื่อให้สะดวกต่อการประมวลผล ซึ่งมี 4 วิธี

1.1 การลงรหัส

1.2 การตรวจสอบ

1.3 การจำแนก

1.4 การบันทึกข้อมูลลงสื่อ

                2. ขั้นตอนการประมวลผล เป็นการนำเอาโปรแกรมที่เขียนขึ้น มาใช้เพื่อประมวลผลข้อมูลที่ได้เตรียมไว้และข้อมูลยังคงเก็บอยู่ในคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นวิธีการผลิตสารสนเทศต่างๆ เช่น

2.1 การคำนวณ

2.2 การเรียงลาดับข้อมูล

2.3 การสรุป

2.4 การเปรียบเทียบ
                3. ขั้นตอนการแสดงผลลัพธ์ เป็นขั้นตอนการเผยแพร่สารสนเทศให้กับผู้ใช้ในรูปแบบต่างๆ อาจอยู่ในรูปแบบเอกสาร รายงาน การนาเสนอบนจอภาพ โดยการใช้คอมพิวเตอร์ เป็นต้น 

2. จงเรียงลำดับโครงสร้างข้อมูลจากขนาดเล็กไปใหญ่ พร้อมอธิบายความหมายของโครงสร้างข้อมูลแต่ละแบบ

โครงสร้างข้อมูล

บิต (Bit)                - หน่วยที่เล็กที่สุดของข้อมูล

- เลขฐาน 2 คือ 0, 1

ไบต์ (Byte)           - การนำบิตมารวมกัน

- เรียกว่า ตัวอักขระ, ตัวอักษร

ฟิลด์ (Field)         - การนำไบต์หลาย ๆ ไปมารวมกัน

                                                - เรียกว่า เขตข้อมูล

เรคอร์ด (Record) - การนำฟิลด์หลาย ๆ ฟิลด์มารวมกัน

                                                - เรียกว่า ระเบียน

ไฟล์ (File)            - การเรคอร์ดหลาย ๆ เรคอร์ดมารวมกัน
                                               - เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
ฐานข้อมูล (Database)        - การนำไฟล์หลาย ๆ ไฟล์มารวมกัน
                                                                - เรียกว่า ฐานข้อมูล

ไบต์ (Byte) ได้แก่ ตัวอักษร เป็นการนำเอาบิตมารวมกัน โดย 8 bit = 1 Byte
ชื่อ
อักษรย่อ
จำนวนไบท์
กิโลไบท์ (kilobyte)
KB
1024 Bytes
เมกะไบท์ (Megabyte)
MB
1024 KB
กิกะไบท์ (Gigabyte)
GB
1024 MB
เทอราไบท์ (Terabyte)
TB
1024 GB
พีดาไบท์ (Petabyte)
PB
1024 TB



3. หากนำเอาระบบฐานข้อมูลมาใช้ในหน่วยงานที่นักศึกษาทำงานอยู่ สามารถมีแฟ้มข้อมูลใดบ้าง และระบบฐานข้อมูลนั้นมีประโยชน์ต่อองค์กรอย่างไร
" บริษัทไทยทราโฟ แมนูแฟคเจอริ่ง จำกัด "
( ผลิตหม้อแปลงไฟฟ้า ) 
ดิฉันทำงานตำแหน่งเจ้าหน้าที่ธุรการฝ่ายผลิตตัวถังและอุปกรณ์ ดังนั้นดิฉันจะขอกล่าวถึงแฟ้มข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการทำงาน มีดังนี้
>>> แฟ้มข้อมูลใบสั่งผลิตหม้อแปลงไฟฟ้า
>>> แฟ้มข้อมูล DESIGN การผลิตหม้อแปลงแต่ละ DESIGN
>>> แฟ้มข้อมูลรายงานการผลิตประจำวัน ประจำเดือน และประจำปี
>>> แฟ้มข้อมูลบันทึกการตรวจสอบคุณภาพชิ้นงาน
>>> แฟ้มข้อมูลแผนการผลิตและแผนกำหนดส่งหม้อแปลงไฟฟ้า
>>> แฟ้มข้อมูลรายการเบิก - จ่ายวัตถุดิบและอุปกรณ์การผลิต
>>> แฟ้มข้อมูลลูกค้า
>>> แฟ้มข้อมูลพนักงาน และผู้รับเหมาประกอบเชื่อม

ประโยชน์ของระบบฐานข้อมูล
- ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล 

- สามารถใช้ข้อมูลร่วมกัน 

- หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูล 

- รักษาความถูกต้องเชื่อถือได้ของข้อมูล 

- กำหนดระบบรักษาความปลอดภัย 

- กำหนดความเป็นมาตรฐานเดียวกันได้ 

- เกิดความอิสระของข้อมูล 
4. จงอธิบายความแตกต่างระหว่างการประมวลผลข้อมูลแบบแบชและแบบเรียลไทม์

                การประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch Processing)
- รวบรวมข้อมูล และแบ่งแยกข้อมูลออกเป็นกลุ่ม ๆ แล้วจึงส่งเครื่องคอมพิวเตอร์
- ทำการประมวลผลครั้งเดียว
- จะไม่มีการโต้ตอบกันระหว่างผู้ใช้งานกับเครื่องคอมพิวเตอร์

                การประมวลผลแบบเวลาจริง (Real Time Processing)

 - การประมวลผลที่เมื่อทาการส่งข้อมูลเข้าไปในคอมพิวเตอร์แล้วจะได้ผลลัพธ์ออกมาทันที

 - แสดงผลข้อมูลทันทีทันใด โดยแสดงผลทาง Output
เช่น การใช้บริการบัตรเครดิตตามห้างร้านต่าง ๆ


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น